Search for:
ผู้รับเหมาควรรู้

ผู้รับเหมาควรรู้

1.เลือกเจ้าลูกค้า

ก่อนการรับงานทุกครั้งผู้รับเหมาควรเลือกให้ความสำคัญกับการเลือกลูกค้า ควรดูประวัติความน่าเชื่อถือของลูกค้า อาจจะหาข้อมูลลูกค้าได้จากผู้รับเหมาที่เคยรับงานนั้นดูว่าลูกค้าเคยมีประวัติการจัดจ้างเป็นอย่างไร เพื่อลดความเสี่ยงในการถูกยกเลิกหรือเบี้ยวค่าจ้างได้

2.การเสนอราคาต้องมีกำไร

ถึงแม้ว่าในปัจจุบันจะมีการแข่งขันในเรื่องราคา แต่ถ้างานที่เรารับมาทำแล้วขาดทุนก็จะเข้าเนื้อของผู้รับเหมาเองได้ ดังนั้นควรให้ความสำคัญกับการเสนอราคาที่ควรได้กำไรมากกว่าขาดทุน

3.มีเงินทุนหมุนเวียน

โดยการประเมินว่าธุรกิจของเราในแต่ละเดือนมีค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง เช่นค่าแรงงาน ค่าวัสดุที่ต้องใช้ ค่าสาธารณูปโภคต่าง จำเป็นต้องมีเงินในการสำรองไว้เพื่อใช้จ่ายเท่าไหร่

4.ควรมีการวางแผนงาน

การวางแผนงานจะช่วยให้ทีมงานสามารถดำเนินงานไปตามแผนที่ตั้งไว้ ไม่ต้องมีข้อสงสัยว่าวันนี้จะทำอะไรต่อไป เพราะทุกคนจะรู้หน้าที่หลักของตัวเองว่าต้องทำอะไร ทำให้การทำงานง่ายมากยิ่งขึ้น และการวางแผนยังช่วยให้งานดำเนินไปจนสำเร็จ

เทคนิคในการยื่นประมูลงาน

3.เทคนิคการยื่นประมูลงาน

1.ศึกษาการจัดเตรียมเอกสาร หลักฐานต่างๆที่ต้องใช้

การจัดเตรียมเอกสาร หลักฐานต่างๆ ถือเป็นเรื่องที่มีความยุ่งยาก ถ้าหากไม่มีความแม่นยำในเรื่องของขั้นตอนการจัดเตรียมก็อาจจทำให้ผิดพลาดได้ ทำให้มีการเวลาในการแก้ไข

2.หาพาร์ทเนอร์ทางการเงินที่ดี

ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าเงินเป็นปัจจัยหลักในการดำเนินธุรกิจ ดังนั้นการมีพาร์ทเนอร์ที่สนับสนุนเงินทุนให้กับผู้รับเหมาจึงมีความสำคัญ เพื่อลดปัญหาการขาดแคลนแหล่งเงินทุน งานไปต่อได้ไม่สะดุด

3.ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับหน่วยงานที่ต้องการยื่นประมูล

ดูลักษณะการทำงานว่ามีลักษณะอย่างไร อาจจะศึกษาจากโครงการเก่าๆ ที่เคยมีการจัดจ้างไปแล้ว

เคเอ็มพีพาร์ทเนอร์ เรามีสินเชื่อเพื่อผู้รับเหมาโดยเฉพาะ จดทะเบียนในนามนิติบุคคลและเป็นคู่ค้ากับภาครัฐ อนุมัติไว ภายใน 24 ชม. ไม่ต้องใช้หลักทรัพย์ค้ำประกัน ให้วงเงินสูง สนใจปรึกษาฟรี โทรเลย หรือคลิก

5 ข้อควรรู้ของการผู้รับเหมาที่ดี

5 ข้อควรรู้ของการผู้รับเหมาที่ดี

1.การเรียนรู้ทักษะใหม่ๆ

ผู้รับเหมาของมีความรู้ทักษะในด้านที่ถนัด และเสริมความรู้และทักษะในด้านอื่นๆที่อาจจะไม่ถนัด ซึ่งการเรียนรู้ทักษะใหม่ๆจะเสริมให้เรามีโอกาสต่อยอดธุรกิจของเราได้ภายในอนาคต

2.มีความน่าเชื่อถือ

เนื่องจากอาชีพผู้รับเหมานอกจากประสบการณ์การทำงานแล้ว ความน่าเชื่อถือเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่เจ้าของบ้านใช้ในการตัดสินใจจัดจ้าง การเสริมความน่าเชื่อถือเช่นการ การสร้างแฟ้มผลงาน ที่เป็นของตัวเองเพื่อใช้ในการนำเสนอให้ลูกค้า หรือแม้แต่การแสดงออกเช่นการพูด การแสดงออก ก็เป็นอีกหนึ่งอย่างที่สามารถเสริมความน่าเชื่อถือให้กับผู้รับเหมาได้

3.ควรมีเงินทุนหมุนเวียน

เนื่องจากอาชีพรับเหมาก่อสร้าง ต้องมีปัจจัยเกี่ยวกับการใช้จ่ายจำนวณมาก ไม่ว่าจะเป็น ค่าแรงงาน ค่าวัสดุก่อสร้าง ค่าใช้จ่ายหน้างาน ซึ่งในบางครั้งต้องงานรับเหมาต้องรองวดในการเบิกจ่าย อาจจะทำให้ผู้รับเหมาต้องสำรองเงินทุนค่าใช้จ่ายในส่วนต่างๆไปก่อน ดังนั้น ถ้าขาดเงินทุนหมุนเวียนที่สม่ำเสมออาจจะทำให้เกิดปัญหาหน้างานได้

4.มีความใส่ใจ มีความตรงต่อเวลา แน่นอนว่าเจ้าของบ้าน หรือผู้ว่าจ้างต้องการงานที่มีคุณภาพภายใต้เงื่อนไขที่ตกลงกันไว้ ดังนั้นนอกจากผู้รับเหมาจะต้องทำผลงานให้ออกมาดีแล้ว ในเรื่องของความใส่ใจเล็กๆน้อย เป็นที่ปรึกษาให้กับผู้ว่าจ้าง มีการเสนอแนะวิธีในการป้องกันหรือเสริมให้เจ้าของบ้านหรือผู้ว่าจ้างมีความรู้สึกว่า ผู้รับเหมาสามารถให้คำแนะนำ และเป็นเพื่อนคู่คิดได้ นอกจากนี้ยังมีเรื่องของเวลา งานควรเสร็จตรงเวลาที่ทำสัญญาไว้ เพื่อเลี่ยงปัญหาการถูกปรับของผู้รับเหมาได้

การสร้างทีมงาน

ธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง ปฏิเสธเลยไม่ได้ว่าการมีทีมงานเป็นเรื่องที่สำคัญมาก เพราะงานรับเหมาไม่สามารถทำเพียงคนเดียวได้ แล้วจะทำอย่างไรให้ทีมงานที่เรามี มีคุณสมบัติตรงตามที่เราต้องการ

การสร้างทีมงาน เริ่มจากการคัดเลือกทีมงาน นอกจากประสบการณ์ความสามารถที่ต้องดูแล้ว ในเรื่องของทัศคติต่อการทำงาน หรือต่อการดำเนินชีวิตเป็นอีกอย่างที่ต้องใส่ใจ การให้โอกาสถือเป็นเรื่องที่ควรทำ ควรรู้ว่าต้องการทีมงานแบบไหน ด้านไหน เลือกคนให้ถูกกับงานเพื่อที่จะให้งานไม่มีปัญหา หรือติดปัญหาน้อยที่สุด เช่น ถ้าทีมงานถนัดงานด้านไฟฟ้า ควรเน้นไปสายงานไฟฟ้าโดยตรงเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด หรือการพัฒนาความรู้ความสามารถในด้านอื่นๆเสริมให้กับทีมงานก็จะช่วยเปิดโอกาสในการรับงานภายในอนาคตของธุรกิจได้อีก

เมื่อได้ทีมงานตรงความตรงการแล้ว ควรมีการพัมนาทีมงาน เช่นการจัดอบรมเสริมความรู้ความสามารถ เสริมในสิ่งที่ทีมงานขาด หรือพัฒนาในทางที่ดีถนัดให้ถนัดยิ่งขึ้นไปอีก

การทำงานเป็นทีมนอกจากความรู้ความสามารถ ทัศนคติแล้ว ยังมีเรื่องของบรรยากาศในการทำงานที่เป็นอีกหนึ่งเรื่องที่สำคัญ การสร้างบรรยากาศทำได้ง่ายๆ เช่นการทักทายกันในทุกวัน เวลาติดปัญหา ควรใช้เหตุผลในการหาสาเหตุและวิธีแก้ไข อย่าเพิ่งด่วนสรุปหรือตัดสินหาคนรับผิดชอบ เพียงเท่านี้การทำงานของทีมงานก็จะราบรื่นขึ้น

ผู้รับเหมาแบบใส่ใจ

5 ข้อควรรู้ของการผู้รับเหมาที่ดี

1.การเรียนรู้ทักษะใหม่ๆ

ผู้รับเหมาของมีความรู้ทักษะในด้านที่ถนัด และเสริมความรู้และทักษะในด้านอื่นๆที่อาจจะไม่ถนัด ซึ่งการเรียนรู้ทักษะใหม่ๆจะเสริมให้เรามีโอกาสต่อยอดธุรกิจของเราได้ภายในอนาคต

2.มีความน่าเชื่อถือ

เนื่องจากอาชีพผู้รับเหมานอกจากประสบการณ์การทำงานแล้ว ความน่าเชื่อถือเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่เจ้าของบ้านใช้ในการตัดสินใจจัดจ้าง การเสริมความน่าเชื่อถือเช่นการ การสร้างแฟ้มผลงาน ที่เป็นของตัวเองเพื่อใช้ในการนำเสนอให้ลูกค้า หรือแม้แต่การแสดงออกเช่นการพูด การแสดงออก ก็เป็นอีกหนึ่งอย่างที่สามารถเสริมความน่าเชื่อถือให้กับผู้รับเหมาได้

3.ควรมีเงินทุนหมุนเวียน

เนื่องจากอาชีพรับเหมาก่อสร้าง ต้องมีปัจจัยเกี่ยวกับการใช้จ่ายจำนวณมาก ไม่ว่าจะเป็น ค่าแรงงาน ค่าวัสดุก่อสร้าง ค่าใช้จ่ายหน้างาน ซึ่งในบางครั้งต้องงานรับเหมาต้องรองวดในการเบิกจ่าย อาจจะทำให้ผู้รับเหมาต้องสำรองเงินทุนค่าใช้จ่ายในส่วนต่างๆไปก่อน ดังนั้น ถ้าขาดเงินทุนหมุนเวียนที่สม่ำเสมออาจจะทำให้เกิดปัญหาหน้างานได้

4.มีความใส่ใจ มีความตรงต่อเวลา

แน่นอนว่าเจ้าของบ้าน หรือผู้ว่าจ้างต้องการงานที่มีคุณภาพภายใต้เงื่อนไขที่ตกลงกันไว้ ดังนั้นนอกจากผู้รับเหมาจะต้องทำผลงานให้ออกมาดีแล้ว ในเรื่องของความใส่ใจเล็กๆน้อย เป็นที่ปรึกษาให้กับผู้ว่าจ้าง มีการเสนอแนะวิธีในการป้องกันหรือเสริมให้เจ้าของบ้านหรือผู้ว่าจ้างมีความรู้สึกว่า ผู้รับเหมาสามารถให้คำแนะนำ และเป็นเพื่อนคู่คิดได้ นอกจากนี้ยังมีเรื่องของเวลา งานควรเสร็จตรงเวลาที่ทำสัญญาไว้ เพื่อเลี่ยงปัญหาการถูกปรับของผู้รับเหมาได้

 5.ใส่ใจลูกน้อง

อาชีพรับเหมาก่อสร้างไม่สามารถทำคนเดียวได้ ดังนั้นการมีลูกน้องจึงจำเป็นอย่างมาก ควรดูแลใส่ใจเช่นการจัดหาที่พัก จัดหาอาหาร ให้ความสำคัญในเรื่องของความปลอดภัยในการการทำงาน เรื่องสวัสดิการที่ลูกน้องพึงได้รับ เพราะลูกน้องถือเป็นแรงขับเคลื่อนงาน ถ้าเราได้ลูกน้องที่ดี งานของเราก็จะประสบความสำเร็จเร็วขึ้น

#kmppartners#สินเชื่อเพื่อผู้รับเหมา#รับเหมาก่อสร้าง#เงินกู้ #ผู้รับเหมา #บริษัทรับเหมา#Construction#กรมบัญชีกลาง#กรมสรรพากร#ประกันสังคม#การจัดการงบประมาณ#การบริหารธุรกิจก่อสร้าง#คุณภาพงานก่อสร้าง#ธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง#บริหารงานก่อสร้าง#ผู้รับเหมา#วิกฤตเศรษฐกิจ#โควิด19